พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เข้าสู่ระบบ
หน้าแรก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ค้นหาข้อมูล
เข้าสู่ระบบ
ตะกรุดกระดาษถุง...
ตะกรุดกระดาษถุงปูน มหารูด หลวงพ่อเต๋ คงทอง ยุคต้น
ตะกรุดกระกาษถุงปูน มหารูด หลวงพ่อเต๋ คงทอง วัดสามง่าม จ. นครปฐม
หลวงพ่อเต๋ คงทอง วัดสามง่าม นครปฐม เกิดเมื่อวันจันทร์ ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 7 ปีเถาะ ตรงกับวันที่ 15 มิถุนายน 2434 ณ บ้านสามง่าม หมู่4
อุปสมบทเป็นพระภิกษุ โดยมี พระครูอุตตรการบดี ( หลวงพ่อทา) วัดพระเนียงแตก เป็นพระอุปัชฌาย์ พระสมุห์เทศ วัดทุ่งผักกูด เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระอธิการจอม วัดลำเหย เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า คงทอง
เมื่ออุปสมบทแล้วได้ไปศึกษาเล่า เรียนทั้งทางธรรมและวิชาอาคมกับหลวงพ่อทา วัดเพียงแตก เริ่มออกธุดงค์ ระหว่าง พ.ศ.2455-2477 รวมเป็น 17 ปี รวมทั้งการศึกษาอาคมเพิ่มเติ่มนอกเหลือจากการศึกษาจาก หลวงพ่อทาวัดพะเนียงแตก ต่อมาได้ไปศึกษาวิชาเพิ่มเติมกับ หลวงพ่อแช่ม วัดตา ก้องจากนั้นก็ธุดงค์ไปเรื่อยๆ
การสร้างวัตถุมงคลของหลวงพ่อเต๋ ท่านจะสร้างไว้หลายแบบหลายชนิดมีทั้งพระเครื่อง และเครื่องรางของขลังเช่น พิรอดแขน ตะกรุดพิรอด ตะกรุดสามห่วง ตะกรุดหน้าผากเสือ ผ้ายันต์ชนิดต่างๆ ปลาตะเพียนเงิน-ทอง ตะกรุดโทน ตะกรุดสาลิกา ตะกรุดใบลาน สีผึ้ง และกุมารทอง(กล่าวกันว่ามีตะกรุด5ห่วงด้วย) แต่ละอย่างล้วนมีอภินิหารเป็นที่ประจักษ์ และเล่าขานกันมาทุกวันนี้ วัตถุมงคลของท่านไม่ได้เน้นเรื่องความสวยงามแต่เน้นเรื่องพุทธคุณ เพราะท่านตั้งใจสร้างเพื่อให้บูชาพกติดตัวป้องกันภัยต่างๆ ส่วนมากเป็นเนื้อ ดินผสมผงป่นว่าน เนื้อ ดินอาถรรพณ์ที่นำมาเป็นมวลสารนั้นได้แก่ ดิน 7 โป่ง ดิน 7 ป่าช้า ดินขุยปู เป็นต้น
วัตถุมงคลที่สร้างชื่อเสียงให้ท่านจนทุกวันนี้คือ ตุ๊กตาทอง ( กุมารทอง) ตำราการสร้างได้จากหลวงลุงแดง นำดิน 7 โป่ง ดิน 7 ป่าช้า ดินขุยปู เป็นต้นมา ปั้นแจกชาวบ้าน นำไปเพื่อคุ้มครอง การปลุกเสกนั้นหลวงพ่อเต๋ จะปั้นแล้วเอาวางนอนไว้แล้วทำการ ปลุกเสกให้ลุกขึ้นมาเองตามตำรา ผู้ที่ได้รับไปบูชามักจะมีเรื่องเล่าสู่กันฟังเป็นมี่อัศจรรย์ทางต่างๆ
ตะกรุดที่ได้รับความนิยมมากที่สุดจะเป็นตะกรุดสามห่วงครับ การสร้างตะกรุดหลวงพ่อเต๋ จะแบ่งแยกเป็น 2 ประเภท
1. ตะกรุดที่ไม่ได้ถักเชือก เป็นตะกรุดโทนเนื้อตะกั่ว ใช้แขวนเอว รูดตะกรุดมาไว้ที่ ด้านหน้า ด้านหลัง ด้านข้างซ้าย และขวาได้ จะเรียกกันว่า ตะกรุดมหารูด ยุคแรกๆ ระหว่าง ปี พ.ศ. 2480
2. ตะะกรุดที่ใช้ กระดาษ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็น ถุงปูนซีเมนต์ แล้วลงยันต์ หลังจากนั้นนำมาม้วนด้วย ก้านตาล ก่อนนำไปให้หลวงพ่อเต๋ปลุกเสก แล้วจึงนำมาถักด้วยเชือกกระสอบอีกทีนึง เป็นสามหู เรียกกันว่า ตะกรุดสามหู หูเป็นลวด เป็นทองแดง แล้วก็เป็นสายไฟ ตามลำดับ มีการทายางไม้บ้าง ทารักแดง รักดำบ้าง แล้วแต่จะหาได้ตามกาลเวลา สร้างราวๆ ปี 2485
ในยุคสุดท้ายจะใช้ถักด้วยเชือกไนล่อน นอกจากกระดาษแล้วก็ยังมีการใช้ หนังหน้าผากเสือ และ หนังเสือ ด้วย แต่น้อยมาก ในยุค ระหว่างปี พ.ศ. 2518 – 2520 ได้มีการใช้ ผ้าแดง และผ้าขาว ปั๊มยันต์ แทนกระดาษ หลังจากนั้นก็มาถักเชือกสามหูอีกครั้งนึง ตะกรุดผ้าแดง นี้ส่วนใหญ่จะไปตกอยู่ที่วัดกาหลง เนื่องจากหลวงพ่อเต๋ ถวายไปให้วัดกาหลง ในสมัยที่หลวงพ่อสุด ยังเป็นเจ้าอาวาส และตะกรุดผ้าแดงนี้ เล่าว่า ตี๋ใหญ่ใช้ติดตัวด้วย ในยุคสุดท้ายของหลวงพ่อเต๋ ใช้แผ่นอลูมีเนียม ตัดเป็นชายธงปั๊มยันต์ ม้วนเป็นตะกรุดแล้วถักด้วยเชือกอีกทีนึง
ตะกรุด หลวงพ่อเต๋ ยุคก่อนคนที่ได้ไป จะต้องลองยิงก่อน ที่แถวหลังวัด เมื่อแน่ใจแล้วจึงนำไปแขวน ดังนั้นตะกรุดหลวงพ่อเต๋ ไม่ว่าจะเป็นยุคไหน แบบไหน ใช้ได้ทั้งนั้นครับสุดยอด ตะกรุดสามห่วงท่านนั้น มีประสบการมากมายนัก จนทำให้ท่านมีเชื่อเสียงโด่งดังมาก และท่านนั้นก็เป็นเจ้าตำหรับตะกรุดสามห่วง พุทธคุณเด่นทางด้าน มหาอุต คงกระพันชาตรี แคล้วคลาดปลอดภัย กันคุณไสย กันภูตผีปีศาจ และ เมตตามหานิยม ต้องพูดได้ว่าดีทุกๆด้านครับ ตามตำราการใช้ตะกรุดของท่าน ที่สือทอดต่อกันมาจนถึงปัจจุบันนั้นดังนี้
( คาถาปลุกตะกรุด 3 ห่วง )
ตั้ง นะโม 3 จบ อุทธัง อัทโธ ปัดนะ นะโมพุทธายะ นะแคล้ว โมคลาด พุทธปัด ธาปิด ยะมิถูก นะสันตะรันโตผิด โสอิกะวิติภา
วิธีการใช้ตะกรุด เป็นมหารูด 1.เวลาสู้ ให้รูดตะกรุดไว้ด้านหน้า 2.เวลาหนี ให้รูดตะกรุดอยู่ด้านหลัง 3.ใช้เป็นเมตตาหาผู้หญิง ให้รูดตะกรุดอยู่ข้างซ้าย 4.ใช้เป็นเมตตาหาเจ้านาย ให้รูดตะกรุดอยู่ข้างขวา
ผู้เข้าชม
6241 ครั้ง
ราคา
-
สถานะ
ขายแล้ว
โดย
บี บุรีรัมย์
ชื่อร้าน
บี บุรีรัมย์
ร้านค้า
bee-kubota.99wat.com
โทรศัพท์
0926924256
ไอดีไลน์
88888bee
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารไทยพาณิชย์ / 773-2-28000-9
พระเจ้าชัยวรมัน รุ่นวนัมรุ่ง เ
รูปหล่อโบราณรุ่นแรก หลวงปู่เม้
ล็อกเก็ต พระอาจารย์อบ
ปิดตามหาลาภ อาจารย์ปาน ปาลธัมโ
พระกรื่งเชียงรุ้ง หลวงปู่เม้า
พระผงรูปเหมือน หลวงปู่สุข วัดโ
เหรียญนางกวัก หลวงปู่เม้า วัดส
พระสังกัจจายน์ หลวงปู่เม้า วัด
เหรียญหลวงพ่อคูณ วัดบ้านไร่ ปี
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
ลงพระฟรี
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ลืมรหัสผ่าน
ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
kuakran
ก้อง วัฒนา
เจริญสุข
ยุ้ย พลานุภาพ
พีพีพระเครื่อง
ยิ้มสยาม573
TotoTato
ปั๊ก สารคาม
fuchoo18
ep8600
บ้านพระสมเด็จ
แมวดำ99
Poosuphan89
Pannee26
Johnny amulet
ยอด วัดโพธิ์
aekvios
Kanamulet
Le29Amulet
Sicco884
บ้านพระหลักร้อย
หริด์ เก้าแสน
hra7215
นิสสันพระเครื่องหนองคาย
Beerchang พระเครื่อง
kaew กจ.
sirikorn
stp253
เจแวงน้อย
แหลมร่มโพธิ์
ผู้เข้าชมขณะนี้ 479 คน
เพิ่มข้อมูล
ตะกรุดกระดาษถุงปูน มหารูด หลวงพ่อเต๋ คงทอง ยุคต้น
ส่งข้อความ
ชื่อพระเครื่อง
ตะกรุดกระดาษถุงปูน มหารูด หลวงพ่อเต๋ คงทอง ยุคต้น
รายละเอียด
ตะกรุดกระกาษถุงปูน มหารูด หลวงพ่อเต๋ คงทอง วัดสามง่าม จ. นครปฐม
หลวงพ่อเต๋ คงทอง วัดสามง่าม นครปฐม เกิดเมื่อวันจันทร์ ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 7 ปีเถาะ ตรงกับวันที่ 15 มิถุนายน 2434 ณ บ้านสามง่าม หมู่4
อุปสมบทเป็นพระภิกษุ โดยมี พระครูอุตตรการบดี ( หลวงพ่อทา) วัดพระเนียงแตก เป็นพระอุปัชฌาย์ พระสมุห์เทศ วัดทุ่งผักกูด เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระอธิการจอม วัดลำเหย เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า คงทอง
เมื่ออุปสมบทแล้วได้ไปศึกษาเล่า เรียนทั้งทางธรรมและวิชาอาคมกับหลวงพ่อทา วัดเพียงแตก เริ่มออกธุดงค์ ระหว่าง พ.ศ.2455-2477 รวมเป็น 17 ปี รวมทั้งการศึกษาอาคมเพิ่มเติ่มนอกเหลือจากการศึกษาจาก หลวงพ่อทาวัดพะเนียงแตก ต่อมาได้ไปศึกษาวิชาเพิ่มเติมกับ หลวงพ่อแช่ม วัดตา ก้องจากนั้นก็ธุดงค์ไปเรื่อยๆ
การสร้างวัตถุมงคลของหลวงพ่อเต๋ ท่านจะสร้างไว้หลายแบบหลายชนิดมีทั้งพระเครื่อง และเครื่องรางของขลังเช่น พิรอดแขน ตะกรุดพิรอด ตะกรุดสามห่วง ตะกรุดหน้าผากเสือ ผ้ายันต์ชนิดต่างๆ ปลาตะเพียนเงิน-ทอง ตะกรุดโทน ตะกรุดสาลิกา ตะกรุดใบลาน สีผึ้ง และกุมารทอง(กล่าวกันว่ามีตะกรุด5ห่วงด้วย) แต่ละอย่างล้วนมีอภินิหารเป็นที่ประจักษ์ และเล่าขานกันมาทุกวันนี้ วัตถุมงคลของท่านไม่ได้เน้นเรื่องความสวยงามแต่เน้นเรื่องพุทธคุณ เพราะท่านตั้งใจสร้างเพื่อให้บูชาพกติดตัวป้องกันภัยต่างๆ ส่วนมากเป็นเนื้อ ดินผสมผงป่นว่าน เนื้อ ดินอาถรรพณ์ที่นำมาเป็นมวลสารนั้นได้แก่ ดิน 7 โป่ง ดิน 7 ป่าช้า ดินขุยปู เป็นต้น
วัตถุมงคลที่สร้างชื่อเสียงให้ท่านจนทุกวันนี้คือ ตุ๊กตาทอง ( กุมารทอง) ตำราการสร้างได้จากหลวงลุงแดง นำดิน 7 โป่ง ดิน 7 ป่าช้า ดินขุยปู เป็นต้นมา ปั้นแจกชาวบ้าน นำไปเพื่อคุ้มครอง การปลุกเสกนั้นหลวงพ่อเต๋ จะปั้นแล้วเอาวางนอนไว้แล้วทำการ ปลุกเสกให้ลุกขึ้นมาเองตามตำรา ผู้ที่ได้รับไปบูชามักจะมีเรื่องเล่าสู่กันฟังเป็นมี่อัศจรรย์ทางต่างๆ
ตะกรุดที่ได้รับความนิยมมากที่สุดจะเป็นตะกรุดสามห่วงครับ การสร้างตะกรุดหลวงพ่อเต๋ จะแบ่งแยกเป็น 2 ประเภท
1. ตะกรุดที่ไม่ได้ถักเชือก เป็นตะกรุดโทนเนื้อตะกั่ว ใช้แขวนเอว รูดตะกรุดมาไว้ที่ ด้านหน้า ด้านหลัง ด้านข้างซ้าย และขวาได้ จะเรียกกันว่า ตะกรุดมหารูด ยุคแรกๆ ระหว่าง ปี พ.ศ. 2480
2. ตะะกรุดที่ใช้ กระดาษ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็น ถุงปูนซีเมนต์ แล้วลงยันต์ หลังจากนั้นนำมาม้วนด้วย ก้านตาล ก่อนนำไปให้หลวงพ่อเต๋ปลุกเสก แล้วจึงนำมาถักด้วยเชือกกระสอบอีกทีนึง เป็นสามหู เรียกกันว่า ตะกรุดสามหู หูเป็นลวด เป็นทองแดง แล้วก็เป็นสายไฟ ตามลำดับ มีการทายางไม้บ้าง ทารักแดง รักดำบ้าง แล้วแต่จะหาได้ตามกาลเวลา สร้างราวๆ ปี 2485
ในยุคสุดท้ายจะใช้ถักด้วยเชือกไนล่อน นอกจากกระดาษแล้วก็ยังมีการใช้ หนังหน้าผากเสือ และ หนังเสือ ด้วย แต่น้อยมาก ในยุค ระหว่างปี พ.ศ. 2518 – 2520 ได้มีการใช้ ผ้าแดง และผ้าขาว ปั๊มยันต์ แทนกระดาษ หลังจากนั้นก็มาถักเชือกสามหูอีกครั้งนึง ตะกรุดผ้าแดง นี้ส่วนใหญ่จะไปตกอยู่ที่วัดกาหลง เนื่องจากหลวงพ่อเต๋ ถวายไปให้วัดกาหลง ในสมัยที่หลวงพ่อสุด ยังเป็นเจ้าอาวาส และตะกรุดผ้าแดงนี้ เล่าว่า ตี๋ใหญ่ใช้ติดตัวด้วย ในยุคสุดท้ายของหลวงพ่อเต๋ ใช้แผ่นอลูมีเนียม ตัดเป็นชายธงปั๊มยันต์ ม้วนเป็นตะกรุดแล้วถักด้วยเชือกอีกทีนึง
ตะกรุด หลวงพ่อเต๋ ยุคก่อนคนที่ได้ไป จะต้องลองยิงก่อน ที่แถวหลังวัด เมื่อแน่ใจแล้วจึงนำไปแขวน ดังนั้นตะกรุดหลวงพ่อเต๋ ไม่ว่าจะเป็นยุคไหน แบบไหน ใช้ได้ทั้งนั้นครับสุดยอด ตะกรุดสามห่วงท่านนั้น มีประสบการมากมายนัก จนทำให้ท่านมีเชื่อเสียงโด่งดังมาก และท่านนั้นก็เป็นเจ้าตำหรับตะกรุดสามห่วง พุทธคุณเด่นทางด้าน มหาอุต คงกระพันชาตรี แคล้วคลาดปลอดภัย กันคุณไสย กันภูตผีปีศาจ และ เมตตามหานิยม ต้องพูดได้ว่าดีทุกๆด้านครับ ตามตำราการใช้ตะกรุดของท่าน ที่สือทอดต่อกันมาจนถึงปัจจุบันนั้นดังนี้
( คาถาปลุกตะกรุด 3 ห่วง )
ตั้ง นะโม 3 จบ อุทธัง อัทโธ ปัดนะ นะโมพุทธายะ นะแคล้ว โมคลาด พุทธปัด ธาปิด ยะมิถูก นะสันตะรันโตผิด โสอิกะวิติภา
วิธีการใช้ตะกรุด เป็นมหารูด 1.เวลาสู้ ให้รูดตะกรุดไว้ด้านหน้า 2.เวลาหนี ให้รูดตะกรุดอยู่ด้านหลัง 3.ใช้เป็นเมตตาหาผู้หญิง ให้รูดตะกรุดอยู่ข้างซ้าย 4.ใช้เป็นเมตตาหาเจ้านาย ให้รูดตะกรุดอยู่ข้างขวา
ราคาปัจจุบัน
-
จำนวนผู้เข้าชม
6251 ครั้ง
สถานะ
ขายแล้ว
โดย
บี บุรีรัมย์
ชื่อร้าน
บี บุรีรัมย์
URL
http://www.bee-kubota.99wat.com
เบอร์โทรศัพท์
0926924256
ID LINE
88888bee
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารไทยพาณิชย์ / 773-2-28000-9
กำลังโหลดข้อมูล
หน้าแรกลงพระฟรี